ประวัติความเป็นมาของกาแฟในโลก

กาแฟโดยแหล่งกำเนิดแล้วเป็นพืชพื้นเมืองของยาบีซีเนีย (Abysiกเอ) และอาราเบีย (Arabia) ถูกคนพบในศตวรรษที่ 6 ราวปีค. ศ. 575 ในประเทศอาระเบีย (Arabia) และในขณะเดียวกันบางท่านก็กล่าวว่ากาแฟเป็นพืชพื้นเมืองที่พบในเมืองคัพฟา (Kata) ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเอธิโอเปีย (Ethiopa) กาแฟจึงได้ชื่อเรียกตามจังหวัดนี้และยังได้เรียกแตกต่างกันอพกไปอีกมากแหล่งกำเนิดเดิมของกาแฟมาจากประเทศยานี้ซีเนียหรือแถบประเทศมาเบียนหรือประเทศอาหรับตะวันยอกลางสมัยนั้นไม่มีผู้ใดให้ความสนใจเท่าใดนักจนกระทั่งล่วงเลยมาถึงศตวรรษที่ 9 มีการเลี้ยงแพะขาวยาราเบียคนหนึ่งชื่อคาลดี (Kold.) นำแพะออกไปเลี้ยงตามปกติแพะให้กินผลไม้สีแดงชนิดหนึ่งเข้าไปแล้วเกิดความคึกคะนองผิดปกติจึงได้นำเรื่องไปเล่าให้พระImageมุสลิมองค์หนึ่งฟังพระองค์นั้นจึงได้นำผลของต้นไม้นั้นมกะเทาะเปลี่ยกเอาเมล็ดไปคั่วแล้วต้มในน้ำร้อนดื่มเห็นว่ามีความกระปรี้กระเปราจึงนำไปเล่าให้คนอื่นฟังคยไปชาวอาราเบียจึงได้เริ่มรู้จักต้นกาแฟมากขึ้นจึงทำให้กาแฟแพร่หลายเพิ่มขึ้นจากประเทศอาราเบียเข้าสู่ประเทศอิตาลีเนเธอร์แลนด์เยอรมันฝรั่งเศสซารอาระเบียเรียกพีชนว่า“ ตะรา” (Kawah) หรือ“ คะเวย์” (Kawah) ซึ่งแปลว่าพลัง (strength) หรือความกระปรี้กระเปรฯ (iger) ชาวตุรที่เรียกว่า“ อะเวย์ (Kevat) ต่อมาการเรียกชื่อกาแฟจึงเปลี่ยนแปลงไปตามแหล่งต่างๆของโลกเช่นดัฟฟี (Koffee) ในอังกฤษเรียกว่า "คอฟฟี” (coffet) ขันเป็นชื่อที่รู้จักและใช้ในปัจจุบันนี้เมื่อมาถึงประเทศไทยคนไทยเรียกว่าโกปีชาวแผ่และกาแฟในที่สุด

ประวัติความเป็นมาของกาแฟในประเทศไทย

เมีอทราบประวัติความเป็นมาของกาแฟในโลกก็ควรจะได้รับทราบถึงความเป็นมาของกาแฟในประเทศไทยเราบ้างกาแฟขาวแผ่โกปีหรือคอฟฟี่คลอดจนคอฟฟี่ชอป (coffee shop) และคาเฟ (Cafe) เป็นภาษาที่คนหูและคุ้นเคยกับคนไทยมากพอสมควรในปัจจุบันนี้กาแฟในประเทศไทยมีต้นกำเนิดจากที่คนไทยผู้ซึ่งนับถือศาสนาอิสลามคนหนึ่งชื่อนายดีหมุนได้มีโอกาสไปแสวงบุญ ณ เสียงเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบียได้นำเมล็ดพันธุ์กาแฟมาเพาะปลูกที่บานคีตต. บ้านใหนข. สะบ้ายยยจ. สงขลาในปีพ. ศ. 2447 กาแฟที่นำมาปรากฏว่าเป็นพันธุ์โรบักตาการปลูกได้ผลดีพอสมควรจากนั้นจึงได้มีการขยายพันธุ์และมีการส่งเสริมการปลูกกาแฟพันธุ์โรบัสตานี้ขอกไปอย่างกว้างขวางในภาคใต้ของประเทศไทยโดยส่งเสริมเป็นพืชปลูกสลับในสวนยางเป็นรายได้สารองจากการกรีดยางปัจจุบันการปลูกกาแฟในภาคใต้ได้มีการพัฒนาการอย่างมากมายสามารถปลูกเป็นพืชหลักและทำรายได้ให้เกษตรกรเป็นอย่างดีพื้นที่ปลูกทั้งสิ้นประมาณ 147, 647 ไรสำหรับกาแฟพันธุ์อาราบิกา (c Arabica) ซึ่งเป็นกาแฟพันธุ์หลักและมีผลผลิตประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของโลกนั้นได้ถูกนำเข้ามาปลูกในประเทศไทยประมาณปีพ. ศ. 2483 ทั้งนี้ตามบันทึกของพระสารศาสตร์พลขันธ์ซึ่งเป็นชาวอิตาลีคอมาในปีพ. ศ. 2516 โครงการปลูกพืชทดแทนและพัฒนาเศรษฐกิจชาวไทยภูเขาไทยบสหประชาชาติได้เริ่มโครงการทดลองทำการเกษตรหลายชนิดโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญในการคนหาพันธุ์พืชและสัตว์มาทดแทนการปลูกและผลิตยาเสพติดฝันของชาวไทยภูเขาและเพื่อทำการพัฒนาเศรษฐกิจของชาวไทยภูเขาอีกด้วยและตอมาในปีพ. ศ. 2520 โครงการได้ขยายเวลาการดำเนินการต่อไปอีก 5 ปีโดยเปลี่ยนชื่อเป็นโครงการปลูกพืชทดแทนและการตลาดที่สูงทั้งนี้เป็นผลจากการทดลองใช้พืชหลายชนิดในการปลูกทดแทนฝืนซึ่งได้ผลดีทำให้พื้นที่และปริมาณการผลิตฝันลดลงไปมากในการส่งเสริมปลูกพืชทดแทนฝืนนี้กาแฟพันธุ์บาราบิกเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญและเป็นความหวังในการทดแทนฝิ่นและสามารถทำรายได้แก่เกษตรกรชาวเขาได้เป็นอย่างดีทั้งนี้เนื่องจากสภาพความเหมาะสมของพื้นที่สูงและความต้องการในตลาดยังมีอยู่มากนั่นเอง